วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556

วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ดอกไม้

ดอกไม้  เทคนิคการเขียนด้วยสีไม่้  โดยคำไพ  ทาชาติ

วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556

วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ความเป็นมาของเรือนไทยพวน

ความเป็นมาของเรือนไทยพวน  อำเภอบ้านผือ  จังหวัดอุดรธานี

                   1.  ความเป็นมาของเรือนไทยพวน
                         บนแผ่นดินที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  หรือที่เรียกสั้น ๆ  ว่า  อีสาน  นั้นมีประวัติการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มาเนิ่นนานหลายพันปี  ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี  และโบราณวัตถุที่สามารถสืบค้นและระบุถึงอายุได้  การสร้างบ้านเรือนก็คงเริ่มมีมาตั้งแต่มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์  แล้วได้วิวัฒนาการต่อเนื่องกันมาหลายยุค  หลายสมัย  จนมาปรากฏเป็นรูปแบบที่ถาวรมั่นคง  และคงเหลือไว้เป็นหลักฐาน  ชาวไทยพวนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์  ไท-ลาว  กลุ่มหนึ่งที่มีภูมิลำเนาอยู่บริเวณภาคเหนือของลาวที่เรียกว่า  เมืองพวนหรือแขวงเชียงขวาง  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน  มีประเพณีและวัฒนธรรมทางประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มของตนเอง  จนสามารถตั้งตัวเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ  อยู่ทางตอนเหนือที่ติดเวียดนามและลาว  ซึ่งมักจะตกอยู่ในอำนาจภายใต้อิทธิผลของลาวและเวียดนามเพราะมีกำลังที่ด้อยกว่าจำเป็นต้องส่งเครื่องบรรณการให้แก่อาณาจักรทั้งสองอยู่เสมอ  ถ้าหากมีกำลังเข้มแข็งก็ประกาศตนเป็นเอกราช 
มีพระมหากษัตริย์และราชวงศ์ครองราชย์สืบต่อกันมา  จนถึงอาณาจักรลาวถูกแบ่งแยกเป็นสองอาณาจักร  และเมื่ออาณาจักรเข้าไปมีอิทธิพล  อาณาจักรพวนก็ต้องส่งเครื่องบรรณาการด้วยเช่นกัน  ชาวพวนมักจะถูก  ลาว  เวียดนาม  และไทย  กวาดต้อนผู้คนเข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของพวกเขา  จนกระทั่งคนพวนที่มีอยู่ในแขวงเชียงขวางในปัจจุบันมีน้อยกว่าคนพวนที่อย่าภายในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นก็สืบเนื่องมาจากผลแห่งสภาวะของสงคราม  ในภูมิภาคแถบนี้ตั้งแต่อดีต  โดยเฉพาะสงครามระหว่างไทยกับลาว  ส่งผลให้ชาวไทยพวนถูกกวาดต้อนและอพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลายต่อหลายครั้ง  และปักถิ่นฐานในประเทศไทย  เกือบทุกภาค
                         การอพยพของชาวไทยพวนเข้าสู่ประเทศไทยยังคงดำเนินต่อไป  ดังเช่นในปี  พ.ศ.  2369  เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์พยายามตั้งตนเป็นอิสระ  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
โปรดเกล้าฯ  ให้กรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นแม่ทัพหลวงยกทัพไปปราบปรามจนราบคาบ 
ได้กวาดต้อนรับครอบครัวลาว  แล้วโปรดเกล้าฯ  ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองชัยนาท  รวมถึงหัวเมืองชายทะเลตะวันออก  เช่น  เมืองนครไชยศรี  เมืองสุพรรณบุรี  เมืองสระบุรี  และเมืองลพบุรี 
(หอสมุดแห่งชาติ.    2507  ก  :  344
                         การอพยพไทยพวนเข้าสู่ประเทศไทย  มีสาเหตุสำคัญจากศึกสงครามระหว่างอาณาจักรลาว  เมื่อไทยเป็นฝ่ายชนะในศึกก็จะทำการกวาดต้อนผู้คนเข้ามาในประเทศไทย  ทั้งนี้เนื่องมาจากแรงงานเป็นปัจจัยที่สำคัญในการผลิต  นอกจากนี้การกวาดต้อนผู้คนเป็นนโยบายทางด้านยุทธศาสตร์  เนื่องจากเมืองพวนเป็นดินแดนที่ญวนใช้เป็นทางผ่านเข้ามาขยายอาณาจักรในเขตลาว  เมื่อไทย
ไม่มีกำลังพอที่จะควบคุมเมืองประเทศราชได้จึงใช้วิธีกวาดต้อนชาวไทยพวนและชนชาติอื่นในเมืองพวนข้ามแม่น้ำโขงเข้ามาโดยไม่ทิ้งไว้ให้เป็นกำลังของข้าศึกคือญวน  (จีระนันท์  พิตรปรีชา.    2529  110-120)  นอกจากนี้การกวาดต้อนเชลยศึกกลับประเทศไทยยังเป็นการทอนกำลังฝ่ายข้าศึกในการทำสงครามในอนาคต  อีกทั้งยังเป็นการทดแทนจำนวนพลที่สูญเสียไปในระหว่างการสู้รบอีกด้วย
                         การเคลื่อนย้ายของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวน
                               ชาวพวนเป็นชนกลุ่มหนึ่ง  เดิมมีถิ่นฐานอยู่ทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงตอนเหนือของประเทศลาวบริเวณซำเหนือ  (วิเชียร  วงศ์วิเศษ.    2517  ไม่มีเลขหน้า)  ปัจจุบันนี้คือ  เมืองพวนแขวงเมืองเชียงขวางในประเทศลาว  ลักษณะภูมิประเทศของเมืองพวนจะเป็นที่ราบสูง  มีภูเขาสลับซับซ้อน  ที่ดินอุดมสมบูรณ์  อากาศเย็น  เป็นต้นกำเนิดของน้ำงึม  น้ำเนียหรือน้ำเนียบและน้ำซันที่ไหลลงสู่แม่น้ำโขง  อาณาบริเวณใกล้เคียงเมืองพวนประกอบด้วยเมืองสำคัญ  คือ  เมืองเชียงขวาง  เมืองคำ  เมืองแสน  เมืองสุย  เมืองโมก  เมืองกางและเมืองเสียง  เมืองพวนมีเขตแดนติดต่อกับญวนทางตะวันตก  ติดต่อกับแดนไทยสิบสองปันนา  ซึ่งขึ้นกับพม่าทางใต้ติดกับกรุงศรีสัตนาคนหุตหรือ
ล้านช้าง  เมื่อกรุงศรีสัตนาคนหุตมีอำนาจได้รวมแคว้นสิบสองจุไทยรวมทั้งเมืองพวนเข้าไว้
ในอาณาจักรของตน  ต่อมากรุงศรีสัตนาคนหุตอ่อนอำนาจลง  การปกครองหัวเมืองอยู่ห่างไกล
ก็มีน้อยลงตามไปด้วย  จนกระทั่งในที่สุดกรุงศรีสัตนาคนหุตแยกออกเป็นสองอาณาเขต  คือ 
หลวงพระบาง  และเวียงจันทน์  เมืองพวนจึงแยกไปขึ้นกับนครเวียงจันทน์นับแต่นั้นมา  (ถวิล 

เกษราช.    2512  :  342-344)  

Thai Phuan Housing

TITLE                        Thai  Phuan  Housing  :  The  Utilization  in  the  Way  of  Life  of  People  in 
                                      Amphoe  Ban  Phue,  Changwat  Udon  Thani
AUTHOR                 Mr.  Khamphai  Thachat
ADVISORS              Dr.  Sunatr  Phosan  and  Dr.  Sastra  Laoakka
DEGREE                  M.A.      MAJOR    Cultural  Science
UNIVERSITY         Mahasarakham  University      DATE    2009

ABSTRACT

                   Housing  are  dwelling  places  of  human  beings,  regarded  as  one  of  4  necessities  of  life.  Each  ethnic  group  has  its  own  house  style  as  its  identity.  Thai  Phuan  houses  have  their  very  interesting  shape  and  style.  Thai  Phuan  people  use  indigenous  knowledge  to  build  their  houses  with  sanitary  conditions  different  from  the  houses  of  other  ethnic  groups  in  several  ways.  This  study  aimed  to  examine  the  background  of  Thai  Phuan  houses  in  the  area  of  Amphoe  Ban  Phue,  Changwat  Udon  Thani,  and  to  investigate  the  utilization  of  Thai  Phuan  houses  involving  the  way  of  life  of  Amphoe  Ban  Phue  people  in  Changwat  Udon  Thani.  The  qualitative  research  was  conducted  in  the  area  of  7  villages  in  Amphoe  Ban  Phue  from  June  2006  to  September  2009.  The  sample  consisted  of  12  key  informants, 
35  casual  informants,  and  15  general  informants.  The  instruments  used  for  collecting  data  were  a  basic  survey,  participant  and  non-participant  observation  forms,  structured-  and  untructured-  interview  forms,  and  a  note-taking  form  on  focused  group  discussion. 
The  collected  data  were  checked  using  triangulation  technique.  The  data  were  analyzed  according  to  the  study  purposes.  The  finding  were  then  presented  by  means  of  a  descriptive  analysis.
                   The  findings  revealed  that  Thai  Phuan  houses  were  wooden  houses  with 
a  high-raised  upper  floor  on  high  pillars,  gable-shaped  roofs  roofed  with  “mai  ket” 
(fish-scale-liked  wooden  tiles)  or  “din  kho”  (baked-clay  tiles  with  hooks).  They  also  used  zinc  iron  roofs  because  zinc  was  lighter  and  more  durable  than  wooden  tiles.  Pillar  were  made  of  hard  wood.  The  upper  floor  was  covered  with  “paen”  (thick  planks).  The  house  walls  were  popularly  made  of  thin  wooden  portions.  On  the  wooden  wall  above  the  bed  head  there  was  a  small  wind  hole  called  “pong  iam”.  The  upper  house-floor  was  used  as 
bed  rooms,  for  relaxation,  a  kitchen,  and  a  dining  room.  On  the  wall  in  the  east  there  was  a  shelf  for  worshipping  or  a  separate  room  for  keeping  valuable  things,  sacred  Things  as  well  as  ancestors’  ashes.  A  separate  room  in  the  west  was  for  daughters.  Inside  the  house  the  area  for  utilization  was  proportionally  divided.  The  area  under  the  house  was  used  for  performing  such  work  as  basket  weaving,  cloth  weaving,  other  handicraft  work;  for  keeping  tools  for  trapping  animals,  farming  tools,  or  pens  for  keeping  such  different  domestic  animals  as  cows,  buffaloes,  pigs,  ducks,  and  chickens.  In  addition,  the  area  under  the  house  was  used  for  setting  stretchers  or  beds  and  small  low  tables  for  sitting  on  and  lying  on  when  the  house  owners  were  tired  from  work  as  well  as  for  reception  of  visiting  guests  during  the  day. 
                   Thai  Phuan  houses  were  small  or  large  depending  upon  the  range  or  length  between  the  house  pillars.  Normally,  the  houses  were  built  with  gable-shaped  roofs  facing  along  the  east-west  direction.  That  was,  the  house  roofs  would  slope  down  towards  north  and  south.  There  might  be  exceptions  based  on  some  other  limitations  such  as  the  area  was  inappropriate  for  building  the  house  according  to  the  traditional  beliefs  and  the  beliefs  as  mentioned  decreased.  Thus  building  the  house  at  present  depends  upon  the  house  owners’  satisfaction.  The  building  of  the  eaves  from  the  house  body  to  make  the  kitchen,  the  bath-room  or  the  shelter  for  keeping  different  materials  and  utensils  by  lowering  the  level  according  to  the  proportion  and  separating  to  be  other  parts  was  not  included  as  the  rooms  of  the  house.  Therefore,  Thai  Phuan  houses  had  been  developed  in  the  kitchen  structure  by  extending  the  eaves  of  the  house.  On  the  compound  near  the  house  a  rice  barn  was  often  built  for  keeping  paddy  rice.  At  present,  Thai  Phuan  people  who  have  good  economic  status  build  western-style  buildings  for  living  in,  or  build  urban  community  style  buildings.  However,  the  houses  of  Thai  Phuan  people  who  have  moderate  economic  status  still  remain  their  house  style  with  high-raised  upper  floor  as  usual.  They  have  moved  animal  pens  from  under  the  house  to  make  their  house  more  sanitary.

                   In  conclusion,  Thai  Phuan  houses  were  valuable  dwelling  places  with  security  and  strength.  The  houses  could  assure  safety  and  utilization  in  the  way  of  life  of  Amphoe  Ban  Phue  people  in  Changwat  Udon  Thani.  Although  geographical  and  social  conditions  have  changed,  influencing  the  way  of  construction,  the  house  structure  and  selection  of  durable  materials  are  still  in  existence.  These  things  are  related  to  the  environment  and  can  well  respond  to  utilization  according  to  the  values  of  the  house  owners.

สุนทรีย์


สุนทรีย์

วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ปู่คูณ บ้านผือ

ปู่คูณ อำเภอบ้านผือ อุดร  ละสังขาร

ตลาดน้ำ (ตัวจริงตัวปลอม)

ตลาดน้ำ  (ตัวจริงตัวปลอม)

สงบ

สงบ

ตลาดน้ำ (ตัวจริงตัวปลอม

เอื้องคำ

เอื้องคำ  ยามราตรี

พระธาตุเชิงชุม

พระธาตุเชิงชุม นครพนม

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

วันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2556

กระต่ายหมายจ้นทร์ 2  สีน้ำ ขนาด 15" x 22" โดยคำไพ  ทาชาติ

นายฮ้อย

นายฮ้อย  ภายลายเส้น  โดยคำไพ  ทาชาติ

ลีลาวดี

ลีลาวดี  โดยคำไพ  ทาชาติ  ลายเส้น

บัว

บัว  โดยคำไพ  ทาชาติ  สีไม้

ธรรมชาติกับชีวิต

ธรรมชาติกับชีวิต โดยคำไพ  ทาชาติ  สีไม้

ผาแดงนางไอ่ (พังคี)

นาคา (พังคี)  โดยคำไพ  ทาชาติ  ลายเส้นปากกาหมึกดำ

วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ผาแดงนางไอ่

ผาแดงนางไอ่  โดยคำไพ  ทาชาติ  ลายเส้นด้วยปากกาดำ

วิถีชาวนา 2

วิถีชาวนา 2  โดยคำไพ  ทาชาติ  สีน้ำ  ขนาด 15"x22"

กระต่ายหมายจันทร์

ขั้นตอนการลงสีน้ำ
กระต่ายหมายจันทร์  โดยคำไพ ทาชาติ  (ลงเส้นด้วยกาวยางน้ำ)
ธรรมชาติ โดยคำไพ  ทาชาติ  สีน้ำ

ภาพลายเส้นเพื่อการศึกษา